ตัวกรองผลการค้นหา
พระราชวินิจฉัย
หมายถึงคำวินิจฉัย, การวินิจฉัย
ฉะ
หมายถึงคำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ฉ เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ฉาดฉาด กร่อนเป็น ฉะฉาด ฉ่ำฉ่ำ กร่อนเป็น ฉะฉ่ำ มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้นคำ.
ดูเถอะ,ดูเถิด
หมายถึงคำบอกกล่าวให้รับรู้ไว้.
พอที
หมายถึงคำห้ามเพื่อขอยับยั้ง.
สากรรจ์
หมายถึงคำเลือนมาจาก ฉกรรจ์.
พระวินิจฉัย
หนาตา
หมายถึงว. ที่เห็นว่ามีมาก, มาก (ใช้แก่การเห็น), เช่น วันนี้มีคนมาชมมหรสพหนาตากว่าวันก่อน, บางทีก็ใช้ว่า หนาหูหนาตา โดยมี หนาหู เป็นคำสร้อย เช่น ละครเรื่องนี้มีคนไปดูหนาหูหนาตากว่าปรกติ.
มารษา
หมายถึง[มานสา] น. คำปด, คำเท็จ, คำไม่จริง. (ส. แผลงมาจาก มฺฤษา).
สิเนหะ,สิเนหา,สิเน่หา
หมายถึง[สิเหฺน่หา] น. ความรัก, ความมีเยื่อใย, เช่น เขาให้สร้อยเส้นนี้แก่ฉันด้วยความสิเน่หา. (ป.; ส. เสฺนห).
กิระ
หมายถึงว. เล่าลือ เช่น คำกิระ หมายความว่า คำเล่าลือ. (ป.).
วจีวิภาค
หมายถึงน. ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยคำและหน้าที่ของคำ.
อาศิรวจนะ
หมายถึงน. คำอวยพร (เป็นคำที่ผู้น้อยใช้กับผู้ใหญ่).