ค้นเจอ 271 รายการ

พระขนิษฐา

หมายถึงน้องสาว

น้องสาว

หมายถึงอวัยวะเพศหญิง

พระภาคิไนย

หมายถึงหลานที่เป็นลูกของพี่สาวหรือน้องสาว

อนุช

หมายถึง[อะนุด] น. “ผู้เกิดภายหลัง”, น้องสาว, นิยมใช้ว่า นุช. (ป., ส.).

เชษฐา

หมายถึง[เชดถา] (กลอน) น. พี่ชาย, คู่กับ กนิษฐา คือ น้องสาว.

กนิษฐ-

หมายถึง[กะนิดถะ-] ว. “น้อยที่สุด”. (ส.; ป. กนิฏฺฐ), (ราชา) ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภคินี หมายถึง น้องสาว, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภาดา หมายถึง น้องชาย, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐา หมายถึง น้องสาว. (ส.; ป. กนิฏฺฐ).

พระเจ้าน้องนางเธอ

หมายถึงน้องสาว (ที่เป็นพระองค์เจ้า) ของพระมหากษัตริย์

น้อง

หมายถึงน. ผู้ร่วมบิดาหรือมารดาเดียวกันและเกิดทีหลัง, ลูกของอาหรือของน้า, เรียกคนที่มีอายุคราวน้อง เช่น น้องแดง น้องเขียว; ออกทีหลัง, มาทีหลัง, เช่น หมากทะลายน้อง มะพร้าวทะลายน้อง, คู่กับ ทะลายพี่; ลักษณนามใช้นับอายุไม้จำพวกไม้ไผ่ เช่น ไม้น้องเดียว คือ ไม้ที่มีอายุ ๒ ปี ไม้ ๒ น้อง คือ ไม้ที่มีอายุ ๓ ปี.

พระกนิษฐภคินี

หมายถึงน้องสาว ของพระมหากษัตริย์ และเจ้านาย

กนิษฐ

หมายถึง[กะนิดถะ-] ว. “น้อยที่สุด”. (ส.; ป. กนิฏฺฐ), (ราชา) ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภคินี หมายถึง น้องสาว, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภาดา หมายถึง น้องชาย, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐา หมายถึง น้องสาว. (ส.; ป. กนิฏฺฐ).

กนิษฐา

หมายถึง(กลอน) น. น้องสาว, คู่กับ เชษฐา คือ พี่ชาย; (ราชา) นิ้วก้อย ใช้ว่า พระกนิษฐา. (ส.).

กนิษฐ์

หมายถึง[กะนิด] ว. “น้อยที่สุด”. (ส.; ป. กนิฏฺฐ), (ราชา) ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภคินี หมายถึง น้องสาว, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐภาดา หมายถึง น้องชาย, ถ้าใช้ว่า พระกนิษฐา หมายถึง น้องสาว. (ส.; ป. กนิฏฺฐ).

 คำราชาศัพท์ จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ